กิจกรรมการเรียนการสอน เรื่องสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต
1. ครูให้นักเรียนร้องเพลงช้าง และทำท่าทางประกอบเพลงตามจินตนาการ
เพลง ช้าง ช้าง ๆ ๆ น้องเคยเห็นช้างหรือเปล่า
ช้างมันตัวโตไม่เบา จมูกยาวๆ เรียกว่า งวง
มีเขี้ยวใต้ งวง เรียกว่า งา มีหูมีตาหางยาว
ช้างมันตัวโตไม่เบา จมูกยาวๆ เรียกว่า งวง
มีเขี้ยวใต้ งวง เรียกว่า งา มีหูมีตาหางยาว
2. ครูให้นักเรียนดูภาพถ่ายของช้างตัวจริงและช้างไม้แกะสลัก แล้วร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น ตามหัวข้อที่กำหนดให้ ดังนี้
- นักเรียนคิดว่า ภาพใดเป็นภาพของสิ่งมีชีวิต และภาพใดเป็นภาพของสิ่งไม่มีชีวิต นักเรียนสังเกตจากสิ่งใด
3. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมในใบงานที่ 1.1 สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต โดยให้นักเรียนดูรูปภาพในใบงาน แล้วเขียนบอกว่า เป็นรูปภาพอะไร และให้ขีดเครื่องหมาย ü ลงในช่อง £ ของภาพนั้นว่าเป็นสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิต แล้วผลัดกันนำเสนอผลงานที่หน้าชั้น
ชั่วโมงที่ 2 1. ครูและนักเรียนร่วมกันตั้งสมมุติฐานที่คิดว่าเป็นลักษณะของสิ่งมีชีวิตตามที่เข้าใจ แล้วเขียนเป็นแผนผังความคิด ตามตัวอย่าง
- นักเรียนคิดว่า ภาพใดเป็นภาพของสิ่งมีชีวิต และภาพใดเป็นภาพของสิ่งไม่มีชีวิต นักเรียนสังเกตจากสิ่งใด
3. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมในใบงานที่ 1.1 สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต โดยให้นักเรียนดูรูปภาพในใบงาน แล้วเขียนบอกว่า เป็นรูปภาพอะไร และให้ขีดเครื่องหมาย ü ลงในช่อง £ ของภาพนั้นว่าเป็นสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิต แล้วผลัดกันนำเสนอผลงานที่หน้าชั้น
ชั่วโมงที่ 2 1. ครูและนักเรียนร่วมกันตั้งสมมุติฐานที่คิดว่าเป็นลักษณะของสิ่งมีชีวิตตามที่เข้าใจ แล้วเขียนเป็นแผนผังความคิด ตามตัวอย่าง

2. ครูให้นักเรียนร้องเพลงในสระใหญ่ และทำท่าทางประกอบเพลงตามจินตนาการของนักเรียน
เพลง ในสระใหญ่ ในสระใหญ่แลไปเห็นปลา สีทองโอ่อ่าตาสดใส
ครีบกลางหางโบกว่องไว โลดไล่เล่นน้ำดำลง
3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน แล้วทำใบงานที่ 1.2 เรื่อง สังเกตลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต โดยปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
1) ให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ ดังนี้
- ปลาหางนกยูง 2-3 ตัว
- ก้อนหิน 2-3 ก้อน
เพลง ในสระใหญ่ ในสระใหญ่แลไปเห็นปลา สีทองโอ่อ่าตาสดใส
ครีบกลางหางโบกว่องไว โลดไล่เล่นน้ำดำลง
3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน แล้วทำใบงานที่ 1.2 เรื่อง สังเกตลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต โดยปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
1) ให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์ ดังนี้
- ปลาหางนกยูง 2-3 ตัว
- ก้อนหิน 2-3 ก้อน
- ขวดโหล 1 ใบ
- แว่นขยาย 1 อัน
2) ให้นักเรียนสังเกตปลาหางนกยูงและก้อนหินในขวดโหล ว่ามีการเคลื่อนไหวหรือไม่ โดยใช้แว่นขยาย
3) ให้นักเรียนสังเกตว่า เมื่อใส่อาหารสำเร็จรูปลงในขวดโหลปลาหางนกยูงและก้อนหิน กินอาหารหรือไม่
4) บันทึกผลการสังเกต
ชั่วโมงที่ 3-41. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 1.3 เรื่อง จำแนกสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ดังนี้
1) ให้สำรวจรอบบริเวณโรงเรียนว่าพบเห็นสิ่งใดบ้าง
2) สังเกตลักษณะของสิ่งที่พบเห็น
3) นำชื่อสิ่งที่สำรวจพบทั้งหมดมาจำแนกว่าเป็นสิ่งมีชีวิต หรือเป็นสิ่งไม่มีชีวิต พร้อมบอกเหตุผลประกอบ
4) นำเสนอผลการสำรวจที่หน้าชั้น
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้จากการทำใบงานที่ 1.2 และ 1.3 แล้วเขียนเป็นแผนผังความคิด (ตามตัวอย่าง) และนำผลสรุปที่ได้มาเปรียบเทียบกับแผนผังความคิดที่เป็นสมมุติฐานลักษณะของสิ่งมีชีวิตตามความเข้าใจของนักเรียนในชั่วโมงที่ 2 ที่ผ่านมา
แผนผังความคิดลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิต
- แว่นขยาย 1 อัน
2) ให้นักเรียนสังเกตปลาหางนกยูงและก้อนหินในขวดโหล ว่ามีการเคลื่อนไหวหรือไม่ โดยใช้แว่นขยาย
3) ให้นักเรียนสังเกตว่า เมื่อใส่อาหารสำเร็จรูปลงในขวดโหลปลาหางนกยูงและก้อนหิน กินอาหารหรือไม่
4) บันทึกผลการสังเกต
ชั่วโมงที่ 3-41. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 1.3 เรื่อง จำแนกสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ดังนี้
1) ให้สำรวจรอบบริเวณโรงเรียนว่าพบเห็นสิ่งใดบ้าง
2) สังเกตลักษณะของสิ่งที่พบเห็น
3) นำชื่อสิ่งที่สำรวจพบทั้งหมดมาจำแนกว่าเป็นสิ่งมีชีวิต หรือเป็นสิ่งไม่มีชีวิต พร้อมบอกเหตุผลประกอบ
4) นำเสนอผลการสำรวจที่หน้าชั้น
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้จากการทำใบงานที่ 1.2 และ 1.3 แล้วเขียนเป็นแผนผังความคิด (ตามตัวอย่าง) และนำผลสรุปที่ได้มาเปรียบเทียบกับแผนผังความคิดที่เป็นสมมุติฐานลักษณะของสิ่งมีชีวิตตามความเข้าใจของนักเรียนในชั่วโมงที่ 2 ที่ผ่านมา
แผนผังความคิดลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิต

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น